คำพูดประโยคที่ว่า 'จินตนาการสำคัญกว่าความรู้' กลายเป็นประโยคคลาสสิค ที่ทำลายกำแพง ซึ่งขวางกั้นวิทยาศาสตร์ และศิลปศาสตร์ ออกจากกัน ไม่น่าเชื่อว่าประโยคที่มีลักษณะปรัชญาศิลปะ กลับหลุดออกมาจากปากของนักวิทยาศาสตร์ผู้หนึ่ง
ผู้ได้ชื่อว่าโด่งดังที่สุด ความน่าสนใจของผู้กล่าวประโยคนี้ อย่างอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์
จนเกิดเป็นความรู้ ความเชื่อ ค่านิยม รูปแบบใหม่
มีผลงานทางวิทยาศาสตร์กว่า 300 ชิ้น และงานประเภทอื่นๆ ที่ได้รับการยอมรับอีกมากกว่า 150 ชิ้น
นำคำว่า ความฉลาด หรืออัจฉริยะ ไปจดทะเบียนเตรื่องหมายการค้า ในนาม
ชื่อของเขา
และมีคนนำชื่อของเขา ไปจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า ที่แปลว่า ความฉลาด หรืออัจฉริยะ
รวมถึงเป็นผู้ที่กล่าวประโยคคลาสสิคอย่าง 'จินตนาการสำคัญหว่าความรู้'
ชาย ที่ชื่อถูกจดลิขสิทธิ์เครื่องหมายการค้า นิยามว่า 'ความฉลาดหรืออัจฉริยะ' ทีมข่าว วอยส์ โฟกัส จึงขอนำคุณผู้ชมไปทำ
ต่อมา ปี 2551 ไอน์สไตน์
ทฤษฏี ที่ทำให้ใครหลายคนจดจำอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ได้ คือทฤษฏีสัมพันธภาพ ซึ่งได้รับการเปิดเผยเมื่อปี 2458 ขณะที่
ความสนใจในวิชาคณิตศาสตร์ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ สนใจคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ เริ่มต้นขึ้นเมื่อเขาอายุได้ 5 ปี โดยพ่อของเขาได้นำเข็มทิศมาให้เล่น ซึ่งสร้างความประหลาดใจให้แก่เด็กชายไอน์สไตน์เป็นอย่างมากว่า ทำไมเข็มทิศจึงต้องหันไปทางทิศเหนือ และนับตั้งแต่นั้นมา เขาก็มุ่งมั่นศึกษามันเรื่อยมา
ทฤษฏีสัมพันธภาพ เป็น
จนกระทั่ง ไอน์สไตน์อายุได้ 29 ปี เขาก็ได้เริ่มทำงานเป็นอาจารย์สมใจ โดยเริ่มต้นที่มหาวิทยาลัยเบิร์น ก่อนย้ายไปที่ซูริกในปีต่อมา และได้เปลี่ยนไปทำการสอนในสถาบันการศึกษาอีกหลายแห่ง ทั้งในและนอกสวิตเซอร์แลนด์
อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัย โดยมีวิชาเอกคือวิชาฟิสิกส์ เมื่อปี 2443 และได้รับสิทธิ์เป็นพลเมืองสวิสในปี 2444 หลังจากอพยพย้ายตามครอบครัวมาตั้งแต่ปี 2438
;p
หลังจากพยายามมาอยู่นานแสนนาน ในที่สุดก็เขียนออกมาได้...
ไอน์สไตน์ ยังไม่ตาย
CG1 ประเด็น: ไอน์สไตน์ ยังไม่ตาย
Anchor-ผู้ประกาศ
หากกล่าวถึงคำว่า 'อัจฉริยะ' หลายคนต้องนึกถึงชื่อ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ เป็นลำดับแรกๆ วันที่ 18 เมษายน เป็นวันครบรอบการเสียชีวิตของเขา วอยส์ โฟกัสจึงขอนำท่านไปรู้จักกับบุคคลที่ได้รับการยกย่องจากนิตยสารไทมส์ ให้เป็น 'บุคคลแห่งศตวรรษ' คนนี้
เทป
อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ เกิดเมื่อวันที่ 14 มีนาคม ปี 2422 ในเมืองวืร์ตแตมแบร์ก ประเทศเยอรมนี วัยเด็ก ไอน์สไตน์ต้องเผชิญปัญหา ความพิการทางการอ่านหรือเขียน เนื่องจากโครงสร้างสมองที่ไม่ปกติ ความผิดปกติทางร่างกาย ทำให้เขาเป็นหนึ่งในนักเรียนที่ถูกมองว่าเป็นพวกเรียนรู้ช้า แต่ความเชื่องช้ากว่าเด็กคนอื่นๆ กลับทำให้ไอน์สไตน์รู้สึกว่า เขามีเวลาครุ่นคิดถึงอวกาศและเวลามากขึ้น จนนำไปสู่การพัฒนาทฤษฏีเหล่านั้น ในเวลาต่อมา
ไอน์สไตน์เริ่มศึกษาวิชาคณิตศาสตร์ เมื่ออายุได้ 12 ปี โดยมีลุงเป็นผู้ให้คำแนะนำ จนกระทั่งอายุได้ 16 ปี เขาก็สามารถเรียนรู้หลักการทางคณิตศาสตร์ขั้นสูงได้หลายอย่าง รวมถึงหลักการทางฟิสิกส์อีกมากมาย
ไอน์สไตน์เคยต้องตกงานถึงเกือบ 2 ปี หลังจากเรียนจบมหาวิทยาลัย ก่อนได้โอกาสเข้าทำงานในสำนักงานสิทธิบัตรของกรุงเบิร์น ช่วงเวลานี้ เขามีโอกาสร่วมกลุ่มชมรมกับเพื่อน เพื่อพูดคุยปรึกษา เกี่ยวกับเรื่องวิทยาศาสตร์ รวมถึงหนังสือและงานเขียนต่างๆ ซึ่งสุดท้าย ได้ส่งอิทธิพลต่อแนวคิดด้านวิทยาศาสตร์และปรัชญาต่อตัวไอน์สไตน์มากมาย
ปี 2448 ถือเป็นปีแห่งการเริ่มต้นความสำเร็จของไอน์สไตน์ โดยบทความทางวิทยาศาสตร์ของเขาได้ถูกนำไปตีพิมพ์ผ่านทางวารสารวิชาการทางวิทยาศาสตร์ และถือเป็นการค้นพบทฤษฏีที่ยิ่งใหญ่ถึง 3 ทฤษฏี คือ ทฤษฎีปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กตริก, ทฤษฎีการเคลื่อนที่แบบบราวเนียน และทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ ซึ่งได้เปลี่ยนแปลงกระบวนการคิด ความเชื่อทั้งในเรื่องพื้นที่, เวลา และสสาร ของโลกวิทยาศาสตร์สมัยก่อน
ไอน์สไตน์ได้รับรางวัลโนเบลในสาขาฟิสิกส์ เมื่อปี 2464 จากคำอธิบายปรากฏการณ์โฟโต้อิเล็กทริก ต่อมาในปี 2476 เขาหลบหนีออกจากเยอรมนี และขอยกเลิกสัญชาติเยอรมัน ด้วยเหตุผลทางการเมือง ก่อนบินไปทำงานเป็นศาสตราจารย์สาขาฟิสิกส์ ให้กับมหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน ในสหรัฐอเมริกา หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ไอน์สไตน์เป็นหนึ่งในผู้นำการรณรงค์ต่อต้านการผลิตอาวุธนิวเคลียร์ อาวุธที่ถูกพัฒนามาจากสมการ e=mc2 หนึ่งในผลลัพธ์สำคัญของทฤษฏีสัมพันธภาพพิเศษของเขา
ไอน์สไตน์ เสียชีวิตเมื่อวันที่ 18 เมษายน ปี 2498 ด้วยโรคหัวใจ ทิ้งไว้แต่เพียงผลงาน ที่มีส่วนสำคัญต่อการพัฒนาวงการวิทยาศาสตร์ของโลกมากมาย ซึ่งยังไม่รวมถึงอิทธิพลต่อแนวความคิดในการใช้ชีวิตทั่วไป เช่นความเรียบง่าย หรือวาทะอย่าง 'จินตนาการสำคัญกว่าความรู้' ที่ทำลายขอบกั้นโลกวิทยาศาสตร์กับศิลปะลงอย่างราบคาบ
ไอน์สไตน์จากโลกไปแล้ว 56 ปี แต่ทฤษฏีแนวคิดทั้งศาสตร์และศิลป์ ยังเป็นต้นแบบที่คนจำนวนมากทั้งในและนอกวงการวิทยาศาสตร์ยังนับถือ และระลึกถึงอยู่เสมอ
อาจจะไม่เกี่ยวกับบทความโดยตรง... แต่สนุกดี...
CG1 ประเด็น: ไอน์สไตน์ ยังไม่ตาย
Anchor-ผู้ประกาศ
หากกล่าวถึงคำว่า 'อัจฉริยะ' หลายคนต้องนึกถึงชื่อ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ เป็นลำดับแรกๆ วันที่ 18 เมษายน เป็นวันครบรอบการเสียชีวิตของเขา วอยส์ โฟกัสจึงขอนำท่านไปรู้จักกับบุคคลที่ได้รับการยกย่องจากนิตยสารไทมส์ ให้เป็น 'บุคคลแห่งศตวรรษ' คนนี้
เทป
อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ เกิดเมื่อวันที่ 14 มีนาคม ปี 2422 ในเมืองวืร์ตแตมแบร์ก ประเทศเยอรมนี วัยเด็ก ไอน์สไตน์ต้องเผชิญปัญหา ความพิการทางการอ่านหรือเขียน เนื่องจากโครงสร้างสมองที่ไม่ปกติ ความผิดปกติทางร่างกาย ทำให้เขาเป็นหนึ่งในนักเรียนที่ถูกมองว่าเป็นพวกเรียนรู้ช้า แต่ความเชื่องช้ากว่าเด็กคนอื่นๆ กลับทำให้ไอน์สไตน์รู้สึกว่า เขามีเวลาครุ่นคิดถึงอวกาศและเวลามากขึ้น จนนำไปสู่การพัฒนาทฤษฏีเหล่านั้น ในเวลาต่อมา
ไอน์สไตน์เริ่มศึกษาวิชาคณิตศาสตร์ เมื่ออายุได้ 12 ปี โดยมีลุงเป็นผู้ให้คำแนะนำ จนกระทั่งอายุได้ 16 ปี เขาก็สามารถเรียนรู้หลักการทางคณิตศาสตร์ขั้นสูงได้หลายอย่าง รวมถึงหลักการทางฟิสิกส์อีกมากมาย
ไอน์สไตน์เคยต้องตกงานถึงเกือบ 2 ปี หลังจากเรียนจบมหาวิทยาลัย ก่อนได้โอกาสเข้าทำงานในสำนักงานสิทธิบัตรของกรุงเบิร์น ช่วงเวลานี้ เขามีโอกาสร่วมกลุ่มชมรมกับเพื่อน เพื่อพูดคุยปรึกษา เกี่ยวกับเรื่องวิทยาศาสตร์ รวมถึงหนังสือและงานเขียนต่างๆ ซึ่งสุดท้าย ได้ส่งอิทธิพลต่อแนวคิดด้านวิทยาศาสตร์และปรัชญาต่อตัวไอน์สไตน์มากมาย
ปี 2448 ถือเป็นปีแห่งการเริ่มต้นความสำเร็จของไอน์สไตน์ โดยบทความทางวิทยาศาสตร์ของเขาได้ถูกนำไปตีพิมพ์ผ่านทางวารสารวิชาการทางวิทยาศาสตร์ และถือเป็นการค้นพบทฤษฏีที่ยิ่งใหญ่ถึง 3 ทฤษฏี คือ ทฤษฎีปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กตริก, ทฤษฎีการเคลื่อนที่แบบบราวเนียน และทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ ซึ่งได้เปลี่ยนแปลงกระบวนการคิด ความเชื่อทั้งในเรื่องพื้นที่, เวลา และสสาร ของโลกวิทยาศาสตร์สมัยก่อน
ไอน์สไตน์ได้รับรางวัลโนเบลในสาขาฟิสิกส์ เมื่อปี 2464 จากคำอธิบายปรากฏการณ์โฟโต้อิเล็กทริก ต่อมาในปี 2476 เขาหลบหนีออกจากเยอรมนี และขอยกเลิกสัญชาติเยอรมัน ด้วยเหตุผลทางการเมือง ก่อนบินไปทำงานเป็นศาสตราจารย์สาขาฟิสิกส์ ให้กับมหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน ในสหรัฐอเมริกา หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ไอน์สไตน์เป็นหนึ่งในผู้นำการรณรงค์ต่อต้านการผลิตอาวุธนิวเคลียร์ อาวุธที่ถูกพัฒนามาจากสมการ e=mc2 หนึ่งในผลลัพธ์สำคัญของทฤษฏีสัมพันธภาพพิเศษของเขา
ไอน์สไตน์ เสียชีวิตเมื่อวันที่ 18 เมษายน ปี 2498 ด้วยโรคหัวใจ ทิ้งไว้แต่เพียงผลงาน ที่มีส่วนสำคัญต่อการพัฒนาวงการวิทยาศาสตร์ของโลกมากมาย ซึ่งยังไม่รวมถึงอิทธิพลต่อแนวความคิดในการใช้ชีวิตทั่วไป เช่นความเรียบง่าย หรือวาทะอย่าง 'จินตนาการสำคัญกว่าความรู้' ที่ทำลายขอบกั้นโลกวิทยาศาสตร์กับศิลปะลงอย่างราบคาบ
ไอน์สไตน์จากโลกไปแล้ว 56 ปี แต่ทฤษฏีแนวคิดทั้งศาสตร์และศิลป์ ยังเป็นต้นแบบที่คนจำนวนมากทั้งในและนอกวงการวิทยาศาสตร์ยังนับถือ และระลึกถึงอยู่เสมอ
อาจจะไม่เกี่ยวกับบทความโดยตรง... แต่สนุกดี...
J
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น